logo IPST4 IPST4
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
  • Apps
  • เกี่ยวกับ scimath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
  • learning space
  • ระบบอบรมครู
  • ระบบการสอบออนไลน์
  • ระบบคลังความรู้
  • ระบบการเรียนรู้ร่วมกัน
  • สสวท.
  • สำนักงานสลากกินแบ่ง
  • วีดิทัศน์
  • คลังภาพ
  • บทความ
  • โครงงาน
  • บทเรียน
  • แผนการสอน
  • E-Books
  • Apps
Login
Login / Register
  • สมัครสมาชิก
  • ลืมรหัสผ่าน
ค้นหา
    

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
เลือกหมวดหมู่
    
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • หน้าแรก
  • บทความ
  • ฟิสิกส์
  • ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ ตอนที่ 9 ..สัมพัทธภาพของความพร้อมกัน

ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ ตอนที่ 9 ..สัมพัทธภาพของความพร้อมกัน

โดย :
ราชัย ประกอบการ
เมื่อ :
วันอังคาร, 01 ธันวาคม 2552
Hits
25831

สัมพัทธภาพของความพร้อมกัน - เหตุการณ์สองอย่างเกิดขึ้นในที่ที่ต่างกันสองแห่งอย่างพร้อมกันสำหรับผู้สังเกตหนึ่ง อาจไม่พร้อมกันสำหรับผู้สังเกตคนอื่น ...

บทความความหมายสัมพัทธภาพ ที่เขียนโดยแอลเบิร์ต  ไอน์สไตน์
ผู้แปล: คุณราชัย   ประกอบการ


 

          จนถึงตอนนี้การพิจารณาของเราอ้างอิงกับตัววัตถุอ้างอิงโดยเฉพาะ  ซึ่งเราเรียกว่า  “คันดินที่รองรับทางรถไฟ”  เราสมมติว่าขบวนรถไฟที่ยาวมากกำลังเดินทางไปตามรางด้วยความเร็วคงตัว   v  และในทิศทางที่แสดงในรูปที่ 1  คนที่กำลังเดินทางอยู่ในขบวนรถไฟขบวนนี้จะมีข้อได้เปรียบคือใช้ขบวนรถไฟเป็นตัววัตถุอ้างอิงที่แข็งเกร็ง  (ระบบพิกัด)  ;  เขามองเหตุการณ์ทั้งมวลว่าอ้างอิงกับขบวนรถไฟ

รูปที่  1

          ดังนั้นทุก ๆ  เหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นตามเส้นทางนี้เกิดขึ้นที่จุด  โดยเฉพาะของขบวนรถไฟด้วย  เราอาจให้คำนิยามเกี่ยวกับความพร้อมกัน  สัมพัทธ์กับขบวนรถไฟในลักษณะเดียวกับเมื่อเทียบกับคันดินที่รองรับทางรถไฟอย่างไม่ผิดเพี้ยนได้ด้วย  แต่ว่าผลลัพธ์โดยธรรมชาติก็คือว่า  คำถามต่อไปนี้เกิดขึ้น  :  สองเหตุการณ์  (เช่น  ฟ้าแลบสองครั้งที่  A  และ  B)  ซึ่งพร้อมกันอ้างอิงกับคันดินที่รองรับทางรถไฟพร้อมกันสัมพัทธ์กับขบวนรถไฟด้วยหรือไม่?  เราจะแสดงให้เห็นโดยตรงว่า  คำตอบจะต้องเป็นการปฏิเสธ

          เมื่อเราพูดว่า ฟ้าแลบที่  A  และ  B  พร้อมกันเทียบกับคันดินที่รองรับทางรถไฟ  เราหมายความว่า :  รังสีของแสงที่ถูกปล่อยออกมาที่ตำแหน่ง  A   และ  B  ที่ซึ่งฟ้าแลบเกิดขึ้น  พบกันที่จุดกึ่งกลาง  M  ของความยาว  A  -->  B  ของคันดินที่รองรับทางรถไฟ  แต่เหตุการณ์  A  และ  B  สอดคล้องกับตำแหน่ง  A  และ  B  บนขบวนรถไฟด้วย  ให้  M’  เป็นจุดกึ่งกลางของระยะทาง  A  -->  B  ที่อยู่บนขบวนรถไฟที่กำลังเดินทาง    ในขณะที่เกิดฟ้าแลบ1ขึ้น  จุด  M’  นี้ตรงกับจุด  M  โดยธรรมชาติแต่มันเคลื่อนที่ไปทางขวาในแผนภาพด้วยความเร็ว  v  ของขบวนรถไฟ  ถ้าผู้สังเกตที่กำลังนั่งอยู่ในตำแหน่ง  M’  ในขบวนรถไฟไม่ได้มีความเร็วนี้และแล้วเขาจะยังอยู่ที่  M  ตลอดไป  และรังสีแสงที่ฟ้าแลบ  A  และ  B ปล่อยออกมาจะมาถึงเขาพร้อมกัน  นั่นคือมันจะพบกันที่ที่เขาอยู่เท่านั้น  ตอนนี้ในความเป็นจริง  (พิจารณาอ้างอิงกับคันดินที่รองรับทางรถไฟ)  เขากำลังเพิ่มความเร็วขึ้นไปทางลำแสงที่มาจาก  B  ในขณะที่เขากำลังเดินทางนำหน้าลำแสงที่มาจาก  A  ด้วยเหตุนี้  ผู้สังเกตจะเห็นลำแสงที่ถูกปล่อยออกมาจาก  B  ก่อนที่จะเขาจะเห็นลำแสงที่ถูกปล่อยออกมาจาก  A  ดังนั้นผู้สังเกตที่ใช้ขบวนรถไฟเป็นตัววัตถุอ้างอิงของเขาจะต้องได้ข้อสรุปว่า  ฟ้าแลบ  B  เกิดขึ้นก่อนฟ้าแลบ  A  เราจึงได้ผลลัพธ์ที่สำคัญ :  เหตุการณ์ซึ่งพร้อมกันอ้างอิงกับคันดินที่รองรับทางรถไฟ จะไม่พร้อมกันเทียบกับขบวนรถไฟ และในทางกลับกัน  (สัมพัทธภาพของความพร้อมกัน)  ทุก ๆ  ตัววัตถุอ้างอิง  (ระบบพิกัด)  มีเวลาโดยเฉพาะของมันเอง ; เว้นเสียแต่ว่ามีคนบอกเรา  ตัววัตถุอ้างอิงซึ่งคำกล่าวเกี่ยวกับเวลาอ้างอิงไม่มีความหมายในคำกล่าวเกี่ยวกับเวลาของเหตุการณ์

1 ตามที่พิจารณาจากคันดินที่รองรับทางรถไฟ

          ตอนนี้ก่อนการเกิดขึ้นของทฤษฏีสัมพัทธภาพมีการสมมติในฟิสิกส์โดยปริยายเสมอว่า  คำกล่าวเกี่ยวกับเวลา  มีนัยสำคัญที่สัมบูรณ์  นั่นถือว่ามันเป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกับสภาพของการเคลื่อนที่ของตัววัตถุอ้างอิง  แต่เราเพิ่งเห็นไปแล้วว่าข้อสมมตินี้  เข้ากันไม่ได้กับคำนิยามที่เป็นธรรมชาติที่สุดเกี่ยวกับความพร้อมกัน ; ถ้าเราทิ้งข้อสมมตินี้และแล้วความขัดแย้งระหว่างกฎของการแพร่กระจายของแสงในสุญญากาศ  และหลักการของสัมพัทธภาพ  (เกิดขึ้นในตอนที่ 7)  จะหมดไป

          การพิจารณาในตอนที่  6  ซึ่งตอนนี้รักษาไว้ไม่ได้อีกต่อไป  นำเราไปสู่ความขัดแย้งนั้น  ในตอนนั้นเราสรุปว่า  ชายที่อยู่ในรถตู้โดยสาร  ผู้ซึ่งเดินทางข้ามระยะทาง omega ต่อวินาที  สัมพัทธ์กับตู้รถโดยสารเดินทางข้ามระยะทางเดียวกันด้วยเทียบกับคันดินที่รองรับทางรถไฟ  ในแต่ละชั่วขณะของเวลา  แต่ตามการพิจารณาข้างบนนี้  เวลาที่เหตุการณ์โดยเฉพาะต้องใช้  เทียบกับตู้รถโดยสารจะต้องไม่ถือว่าเท่ากับระยะเวลาของเหตุการณ์อย่างเดียวกันตามที่พิจารณาจากคันดินที่รองรับทางรถไฟ  (เป็นตัววัตถุอ้างอิง)  ด้วยเหตุนี้ไม่อาจยืนยันได้ว่า  ชายที่กำลังเดิน  เดินทางได้ระยะทาง  w  สัมพัทธ์กับทางรถไฟ  ในเวลาซึ่งเท่ากับหนึ่งวินาที  ตามที่พิจารณาจากคันดินที่รองรับทางรถไฟ

          นอกจากนั้นการพิจารณาในตอนที่  6  ยังอิงกับสมมติฐานที่สองอีก  ซึ่งจากการพิจารณาในแง่มุมของการพิจารณาที่เข้มงวด  ดูเหมือนจะไม่เจาะจง  แม้ว่าเราจะทำมันโดยปริยายเสมอ  แม้แต่ก่อนการเริ่มมีทฤษฏีสัมพัทธภาพ

 

 

หัวเรื่อง และคำสำคัญ
ทฤษฏี,สัมพัทธภาพพิเศษ,ตอนที่ 9 ,สัมพัทธภาพ,ความพร้อมกัน
ประเภท
Text
ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.
บทความ
รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.
สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
วันที่เสร็จ
วันเสาร์, 01 ธันวาคม 2561
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของงาน
ราชัย ประกอบการ
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
ฟิสิกส์
ระดับชั้น
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
ช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มเป้าหมาย
ครู
นักเรียน
บุคคลทั่วไป
  • 1044 ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ ตอนที่ 9 ..สัมพัทธภาพของความพร้อมกัน /article-physics/item/1044-413
    คลิ๊กเพื่อติดตาม
    เพิ่มในรายการโปรด
  • ให้คะแนน
    คะแนนเฉลี่ย
    • 1
    • 2
    • 3
    • 4
    • 5
คุณอาจจะสนใจ
ความเสื่อมของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 2-ของไหลแม่เหล็ก
ความเสื่อมของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 2-ของไหล...
Hits ฮิต (18066)
ให้คะแนน
ข้อเท็จจริงที่เป็นที่รู้จักกันดีอันหนึ่ง เนื่องจากเราจะใช้ประโยชน์จากมันในภายหลัง โลกเป็นไดโพลแม่เห ...
ไฟฟ้า..พลังงานที่พัฒนามาจากสมองและสองมือโดยเเท้
ไฟฟ้า..พลังงานที่พัฒนามาจากสมองและสองมือ...
Hits ฮิต (9197)
ให้คะแนน
*หากไม่สามารถดูเอกสารได้บนเว็บ กรุณาติดตั้งโปรแกรม Adobe Reader หรือคลิกที่ Download Acrobat Reader ...
ความเสื่อมของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 10- อีเทอร์และทัศะเชิงกล
ความเสื่อมของทัศนะเชิงกล ตอนที่ 10- อีเท...
Hits ฮิต (18296)
ให้คะแนน
ทัศนศาสตร์เราต้องตัดสินใจที่จะสนันสนุนทฤษฏีเชิงคลื่นและไม่เห็นด้วยกับทฤษฏีเชิงเม็ดของแสง คลื่นแพร่ก ...
คุณอาจจะสนใจ
Recently added
  • หินดินดาน (shale)...
  • สนุกคิดคณิตศาสตร์ ตอน ความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับเรื่องการคูณ...
  • รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ...
  • หินไนส์ (gneiss)...
  • คณิตศาสตร์วิถีเอเชีย...
อ่านต่อ..

ค้นหาบทความ

กลุ่มเป้าหมาย
ระดับชั้น
สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา
การกรองเปลี่ยนแปลง โปรดคลิกที่ส่งเมื่อดำเนินการเสร็จ
  • บทความทั้งหมด
  • ฟิสิกส์
  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • คณิตศาสตร์
  • เทคโนโลยี
  • โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
  • วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • สะเต็มศึกษา
  • อื่น ๆ
  • เกี่ยวกับ SciMath
  • ติดต่อเรา
  • สรุปข้อมูล
  • แผนผังเว็บไซต์
Scimath คลังความรู้
Scimath คลังความรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่แสวงหากำไร ได้จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ SciMath เพื่อส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก หากท่านพบว่ามีข้อมูลหรือเนื้อหาใด ๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุด

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST), Ministry of Education, a non-profit organization under the Thai government, developed SciMath as a website that provides educational resources in Science, Mathematics and Technology. IPST invites visitors to use its online resources for personal, educational and other non-commercial purpose. If there are any problems, please contact us immediately.

Copyright © 2018 SCIMATH :: คลังความรู้ SciMath. All Rights Reserved. 
อีเมล: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. โทรศัพท์ : 02-392-4021 ต่อ 7070 (ให้บริการในวันและเวลาราชการเท่านั้น)